ทุกวันนี้เราเริ่มเห็นผลกระทบจาก “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” (Climate Change) ต่อภาคธุรกิจอุตสาหกรรมของประเทศไทยแล้ว โดยเห็นได้จาก “มาตรการกีดกันทางการค้าและ การลงทุน” ของประเทศผู้นำเข้าสินค้าจากประเทศไทย (หากภาคธุรกิจอุตสาหกรรมไทยมีการผลิตสินค้าที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่สูง)
Tag: ดร. วิฑูรย์ สิมะโชคดี
ทุกอย่างต้องยั่งยืน
เมื่อ “ความยั่งยืน” คือเป้าหมายของทุกองค์กรและทุกชุมชนในสังคมโลก ความยั่งยืน ขององค์กรจึงมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าความยั่งยืนของโลก เพราะถ้าองค์กรต่างๆ ไม่ยั่งยืนแล้ว การพัฒนาที่ยั่งยืนก็คงเป็นไปได้ยาก
เกษตรกรรมสีเขียว
ทุกวันนี้ประเทศไทยตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ที่ดีมากสําหรับการเกษตรกรรม เพราะมีปัจจัยตามธรรมชาติ เช่น ดิน นํ้า แสงแดด อุณหภูมิ มีชายฝั่งทะเลสองด้าน (ด้าน ทิศตะวันออก คือ อ่าวไทย ทะเลจีนใต้ ส่วนด้านทิศตะวันตก คือ…
Green กันหรือยัง
คํายอดฮิตในแทบทุกวงการของวันนี้ ก็คือคําว่า “Green” วันนี้จึงปรากฏคําว่า Green ใน (แทบ) ทุกเรื่อง อาทิ Green Industry, Green Logistics, Green Supply Chain,…
นักลงทุน * ผู้ประกอบการ * ESG
ทุกวันนี้ ความเจริญและความทันสมัยของโลกในหลายๆ ด้าน ได้นำไปสู่ปัญหาความเสื่อมโทรมทางสิ่งแวดล้อม และทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในสังคมโลกเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะสถานการณ์ COVID-19 ที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิด ได้ซ้ำเติมปัญหาต่างๆ ให้ขยายวงกว้างขวางขึ้นทั่วโลก
ยั่งยืนด้วย Green
องค์กรธุรกิจอุตสาหกรรมในวันนี้ นอกจากต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของ “กำไรขาดทุน” แล้ว (โดยเฉพาะ เรื่อง “รายได้และผลประโยชน์ระยะสั้น” แล้ว) “ผู้บริหาร” ยังจะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของ “ความอยู่รอด” และ “ความยั่งยืน” ในระยะยาวอย่างเป็นระบบด้วย
ผู้นำต้องสร้างความยั่งยืน
องค์กรในวันนี้จะมุ่งแต่ทำ “กำไร” เพียงอย่างเดียวคงไม่ได้แล้ว แต่ต้องประกอบกิจการหรือทำมาค้าขายด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วย
การตลาดแห่งอนาคต
หลักการของการตลาดแห่งอนาคตที่กำลังพูดกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันอีกเรื่องหนึ่งก็คือ “หลักการตลาดแบบ Blue Ocean” คือ เน้นในการสร้างความต้องการหรืออุปสงค์ขึ้นมาใหม่ (Demand Creation) โดยไม่สนใจและให้ความสำคัญกับคู่แข่งเดิมๆ ที่อยู่ในอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดประโยชน์หรือคุณค่าทั้งต่อองค์กรเองและลูกค้า โดยลูกค้าจะได้รับคุณค่าที่แตกต่างจากสินค้าอื่นๆ ในตลาด ในขณะที่องค์กรก็ลดต้นทุนในส่วนที่ไม่จำเป็นและนำไปสู่การเติบโตขององค์กรได้ด้วย
ประหยัดอย่างต่อเนื่อง
การประหยัดพลังงาน ยังคงเป็นวิธีที่ได้ผลสำหรับการลดต้นทุนการผลิตของกิจการ เราสามารถเริ่มทำได้ง่าย ๆ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเลยก็ได้ เช่น การเดินตรวจหาจุดรั่วไหลต่าง ๆ เพื่อเปิดปิดไฟแสงสว่างที่ไม่ได้ใช้งาน เป็นต้น จนกระทั่งทำแบบที่ต้องลงทุนสูงก็มี เช่น การปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต หรือ เครื่องจักร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน…
การสร้างวัฒนธรรมสีเขียว
สิ่งที่จะทำให้การประกอบกิจการโรงงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเกิดความยั่งยืน ก็คือ การสร้าง “วัฒนธรรมสีเขียว” (Green Culture) ให้เกิดขึ้นทั่วทั้งองค์กร สำหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแล้ว จะต้องพัฒนาองค์กรเข้าสู่ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตาม มาตรฐาน มอก. ISO 14001 หรือตามมาตรฐานอื่น ๆ ที่เทียบเท่าให้ได้ก่อน…
อุตสาหกรรมสีเขียว กับแผนฯ 12
การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ถือเป็นหนึ่งใน “แนวทางการพัฒนา” ที่สำคัญที่ปรากฏใน “ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12” (พ.ศ. 2560-2564) ซึ่ง “สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” จัดทำเป็นเอกสารประกอบการประชุมที่จัดขึ้นเมื่อเดือนกันยายน 2558 ที่ผ่านมา
พัฒนาสู่ความยั่งยืน
ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) มีความสำคัญมากขึ้นทุกขณะ จนอาจกล่าวได้ว่า ธุรกิจอุตสาหกรรมไม่ทำไม่ได้แล้ว การปรับปรุงองค์กรไปสู่ “อุตสาหกรรมสีเขียว” เป็นวิธีการหนึ่งที่จะนำไปสู่ความยั่งยืน (Sustainable) ได้ หลักการของ “อุตสาหกรรมสีเขียว”…