เมื่อฝุ่นละอองกลายเป็นวาระแห่งชาติ ทีมวิจัย ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงได้ออกแบบและพัฒนาเครื่องเก็บตัวอย่างฝุ่นโดยประยุกต์ใช้ร่วมกับอุปกรณ์ NanoSampler นำร่องติดตั้งใน 3 พื้นที่ของ กทม. (อารีย์, บางนา และดินแดง) ชูความต่างที่สามารถเก็บและแยกตามขนาดฝุ่นละอองขนาดเล็กเป็น…
Tag: ฝุ่นละอองขนาดเล็ก
บ๊อช จับมือภาคีเครือข่ายสรุปผลโครงการ “บลู สกาย” โครงการความร่วมมือระหว่างบ๊อช ประเทศไทย และหน่วยงานท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อช่วยบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศในประเทศไทย
บ๊อช ร่วมกับ สภาลมหายใจเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และตัวแทนครัวเรือนอาสาสมัครในชุมชนหมื่นสารจังหวัดเชียงใหม่ เผยผลสรุปโครงการ “บลู สกาย” โครงการความร่วมมือเพื่อช่วยบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศในจังหวัดเชียงใหม่ภายใต้แนวคิดโครงการ “บ้านสู้ฝุ่น” ซึ่งริเริ่มโดย สภาลมหายใจเชียงใหม่ ในการจัดการพื้นที่สีเขียวด้วยการปลูกพรรณไม้สู้ฝุ่นในครัวเรือนเพื่อลดปัญหามลพิษทางอากาศและฝุ่นละอองขนาดเล็กในจังหวัดเชียงใหม่ ผลสรุปของโครงการพบว่าการปลูกพรรณไม้สู้ฝุ่นจะช่วยยกระดับคุณภาพอากาศและลดปริมาณฝุ่นละอองมากน้อยอย่างไรนั้น ขึ้นกับปัจจัยต่างๆ ได้แก่…
กรมอนามัย แนะ ‘นักท่องเที่ยว-ประชาชน’ เที่ยวเหนือ สวมหน้ากาก เช็คค่าฝุ่น ลดเสี่ยง PM 2.5
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะนักท่องเที่ยวในพื้นที่ภาคเหนือ ลดความเสี่ยงผลกระทบจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 สูงเกินมาตรฐาน แนะสวมหน้ากากป้องกัน และเช็คค่าฝุ่นทุกครั้ง พร้อมดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
วช. ร่วมกับเครือข่ายนักวิจัยพัฒนานวัตกรรมรับมือฝุ่นจิ๋ว พร้อมแนะแนวทางแก้ปัญหาในแต่ละภูมิภาคของประเทศ
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ เครือข่ายนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) จัดงานเสวนาวิชาการเรื่อง “วิจัย นวัตกรรม สู้ฝุ่นจิ๋ว” เพื่อนำเสนองานวิจัยและนวัตกรรมในการแก้ปัญหาฝุ่น…
ดราม่า เรื่อง PM2.5 ตอน 5 : ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
ได้อธิบายไว้ก่อนหน้านี้แล้วว่าเรื่องมลพิษอากาศโดยเฉพาะเรื่องฝุ่นจิ๋ว PM2.5 เป็นเรื่องซับซ้อนที่ทำความเข้าใจได้ไม่ง่าย แต่ในความซับซ้อนนั้นเราก็อยากจะแสดงบทบาทนักวิชาการให้ข้อคิดและข้อเสนอแนะดังนี้
ดราม่า เรื่อง PM2.5 ตอน 4 : รู้ให้ไว ไหวให้ทัน
ขอย้ำอีกครั้งว่า แม้จะเขียนจั่วหัวเรื่องไว้ในตอนที่ 1 ว่าเป็นเรื่องดราม่า อันเนื่องมาจากคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครที่เลวมากในช่วงปลายมกราคมต่อต้นกุมภาพันธ์เมื่อต้นปี 2561 โดยดูหรือวัดเอาจากค่าสารมลพิษอากาศหรือ PM2.5 แต่เมื่อเวลาผ่านไปสภาพลมฟ้าดีขึ้น ลมร้อนเริ่มมาและพัดแรงขึ้น มลพิษทั้งหลายซึ่งจริงๆไม่ได้มีแค่เพียง PM2.5 ก็ถูกพัดพาให้กระจายออกไป ปัญหามลพิษอากาศจึงน้อยลง และดราม่าเรื่องนี้ก็คล้ายๆกับเรื่องอื่นๆ คือจางหายไปกับสายลม…
ดราม่า เรื่อง PM 2.5 ตอน 3 : สถานการณ์ของ กทม.
โดยปกติแล้วฝุ่นโดยเฉพาะฝุ่นขนาดใหญ่ เดิมไม่ค่อยได้รับความสนใจจากนักวิทยาศาสตร์และเจ้าหน้าที่รัฐเท่ากับสารมลพิษอากาศตัวอื่นๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไปวิทยาการก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้เราเริ่มมีความเข้าใจมากขึ้นว่าฝุ่น หากมีขนาดเล็กมากๆ ก็สามารถมีอันตรายไม่น้อยกว่าสารมลพิษอากาศตัวอื่นๆ จนถึงขนาดองค์การอนามัยโลกต้องเข้ามามีบทบาทชี้นำในระดับนานาชาติ
ดราม่า เรื่อง PM2.5 ตอน 2 : มาตรฐานที่ต่างกัน
อย่างที่เกริ่นไว้ในตอน 1 ว่า “แม้จะเขียนจั่วหัวเรื่องว่าเป็นเรื่องดราม่า อันเนื่องมาจากคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครที่เลวมากในช่วงปลายมกราคมต่อต้นกุมภาพันธ์เมื่อต้นปี 2561 โดยดูหรือวัดเอาจากค่าสารมลพิษอากาศหรือ PM2.5 แต่เมื่อเวลาผ่านไปสภาพลมฟ้าดีขึ้น ลมร้อนเริ่มมาและพัดแรงขึ้น มลพิษทั้งหลาย ซึ่งจริงๆไม่ได้มีแค่เพียง PM2.5 ก็ถูกพัดพาให้กระจายออกไป ปัญหามลพิษอากาศจึงน้อยลง และดราม่าเรื่องนี้ก็คล้ายๆกับเรื่องอื่นๆ…
ดราม่า เรื่อง PM 2.5 ตอน 1 : ความเข้าใจพื้นฐาน
แม้จะเขียนจั่วหัวเรื่องว่าเป็นเรื่องดราม่า อันเนื่องมาจากคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครที่เลวมากในช่วงปลายมกราคมต่อต้นกุมภาพันธ์ เมื่อต้นปี 2561 โดยดูหรือวัดเอาจากค่าสารมลพิษอากาศหรือ PM 2.5 แต่เมื่อเวลาผ่านไป สภาพลมฟ้าดีขึ้น ลมร้อนเริ่มมาและพัดแรงขึ้น มลพิษทั้งหลายซึ่งจริงๆ ไม่ได้มีแค่เพียง PM 2.5 ก็ถูกพัดพาให้กระจายออกไป ปัญหามลพิษอากาศจึงน้อยลง…