“มลพิษทางอากาศ” โดยเฉพาะฝุ่น PM2.5 ที่ประกอบด้วย ฝุ่นละออง เชื้อโรค หรือสารมลพิษอื่นๆ ซึ่งเป็นสารแขวนลอยในอากาศที่มีขนาดเล็กจนไม่สามารถถูกดักจับโดยขนจมูกได้ มีลักษณะเป็นของแข็งหรือของเหลวที่ฟุ้งกระจายในบรรยากาศ อนุภาคเหล่านี้สามารถมองเห็นได้ในลักษณะคล้ายหมอกหรือควัน โดยส่วนใหญ่ ฝุ่น PM2.5 เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เช่น การเผาไหม้จากเครื่องยนต์ดีเซล …
Category: Green Technology & Innovation
“โปรไบโอติกส์ซุปเปอร์ดริ้ง สปาร์คกลิ้ง ยีสต์คอมบูฉะ” หมักแบบธรรมชาติ 100% ตอบโจทย์ผู้รักษ์สุขภาพ
คอมบูฉะหรือคอมบูชา (Kombucha) คือเครื่องดื่มชาหมักที่มีจุลินทรีย์ชนิดดี มีประโยชน์ต่อร่างกาย แบคทีเรียและยีสต์บางชนิดที่พบในหมักชาเป็นจุลินทรีย์ในกลุ่มโปรไบโอติกส์ (Probiotics) สามารถช่วยปรับสมดุลในลำไส้ ลดจำนวนแบคทีเรียไม่ดี และทำให้ลำไส้ทำหน้าที่ดูดซึมสารอาหารเข้าสู่ร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ในกระบวนการหมักชาเพื่อผลิตคอมบูฉะ น้ำตาลซึ่งเป็นแหล่งอาหารของจุลินทรีย์จะถูกเปลี่ยนด้วยกระบวนการทางชีวภาพเป็นกรดน้ำส้ม (acetic acid) ที่มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ชวนดื่ม ชาหมักยังอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระที่ได้จากใบชาอีกด้วย…
TAITRONICS & AIoT Taiwan 2024 โชว์เทคโนโลยีชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมประหยัดพลังงาน และ AI สุดล้ำที่ใช้งานเชื่อมต่อถึงกันได้
Taiwan External Trade Development Council หรือ TAITRA ผู้จัดงานแสดงสินค้าชั้นนำแห่งไต้หวัน จัดงาน TAITRONICS & AIoT Taiwan 2024 นิทรรศการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์นานาชาติไทเปและนวัตกรรม AIoT…
มจธ. ผนึกกำลังกรมชลประทาน ปลดล็อกปัญหาดินเค็ม-ดินไม่อุ้มน้ำภาคอีสานด้วย ‘ไบโอซีเมนต์’
ปัญหาดินเค็มและดินไม่อุ้มน้ำถือเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการเพาะปลูกของเกษตรกรในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย เนื่องจากเมื่อหลายล้านปีก่อนพื้นที่นี้เคยเป็นทะเล ทำให้มีชั้นหินเกลือแทรกในชั้นน้ำใต้ดิน และพื้นที่เป็นดินทราย ซึ่งเก็บกักน้ำและสารอาหารได้น้อย ในฤดูฝน น้ำฝนจะซึมลงดินอย่างรวดเร็ว ในฤดูแล้ง น้ำใต้ดินจะไหลขึ้นผ่านช่องว่างของเม็ดดิน แล้วเกิดผลึกเกลือที่ผิวหน้าของดิน ส่งผลให้การเพาะปลูกพืชเป็นไปได้ยากลำบาก จึงเป็นโจทย์สำคัญที่สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จัดทำโครงการ…
นาโนเทค จับมือ SNPS พัฒนา B GOLD นวัตกรรมสารสกัดกระชายดำ เพิ่มมูลค่าสมุนไพรไทยสู่ระดับสากล
ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) จับมือ บริษัท สเปเชี่ยลตี้ เนเชอรัล โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) หรือ SNPS ลงนามอนุญาตให้สิทธิใช้ประโยชน์ผลงานวิจัย ต่อยอด “สารสกัดกระชายดำ” สู่การพัฒนา B…
สจล.เปิดตัว “จุลินทรีย์ – ชีวภัณฑ์ออร์แกนิก” ปฏิวัติวงการเกษตรอินทรีย์แบบเดิม ขับเคลื่อนสิ่งแวดล้อม เพื่อโลกที่ยั่งยืน
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย สถาบันวิจัยเกษตรอินทรีย์ยุคใหม่ สจล. (KMITL Research Institute of Modern Organic Agriculture : RIMOA) ประสบความสำเร็จ ครั้งสำคัญ…
วว. /จังหวัดปทุมธานี/บ.อาปิโกไฮเทค เปิดตัว “จุลินทรีย์ BioD I วว. ช่วยย่อยสลายตอซังข้าว” ลดปัญหาการเผาในพื้นที่การเกษตร
วันนี้ (17 ก.ค. 2567) ณ ลานวัดตระพัง และแปลงนาสาธิต หมู่ที่ 5 ต.เชียงรากใหญ่ อ.สามโคก จ.ปทุมธานี) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย…
Startup ม.ขอนแก่น จับมือ Lily Pharma ผลิตปุ๋ยน้ำนาโน N P K ลดปัญหา Climate Change
ขอนแก่น – 23 พ.ค. 2567 : สุรพล เพชรวรา อุปนายกสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น กล่าวว่า มหาวิทยาลัยฯ มีนโยบายส่งเสริมการถ่ายทอด Technical Know How จากมหาวิทยาลัย…
นาโนเทคล้ำ พัฒนาเซ็นเซอร์เคมีไฟฟ้าตรวจวัดแคดเมียมและโลหะหนักในน้ำ-สมุนไพร รู้ผลใน 1 นาที ตอบโจทย์ Green Economy
ปัญหามลพิษในน้ำ ไม่เพียงส่งผลต่อมนุษย์เราที่ต้องใช้น้ำในการดำรงชีวิต ยังรวมถึงสิ่งมีชีวิตอื่นๆ และสิ่งแวดล้อมอีกด้วย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พัฒนาเซ็นเซอร์เคมีไฟฟ้าตรวจวัดโลหะหนัก ตัวช่วยตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนของ 4 โลหะอันตรายอย่าง…
Cloud Carbon Footprint ช่วยลดมลภาวะจากการใช้คลาวด์
เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในปัจจุบัน แต่ก็ได้สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศโลก หากมองอีกมุมหนึ่ง เราก็สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อลดปัญหาการปล่อยคาร์บอนลงได้เช่นกัน
นักวิจัย มจธ. พบเทคนิคจัดการขยะอาหารเป็น ‘ไบโอชาร์’ เปลี่ยนของเสียชุมชนเป็นพลังงานทดแทน
ปัญหาขยะอาหาร (Food Waste) เป็นปัญหาที่ทั่วโลกกำลังจับตามองเพราะในปี 2562 พบว่าทั่วโลกมีปริมาณอาหารขยะมากกว่า 931 ล้านตัน จากการรายงานของ Food Waste Index Report 2021 โดยโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาติ (UNEP)…
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยชั้นนำผนึกกำลังพัฒนา “เทคนิคตรวจเชื้อ COVID-19 ในน้ำเสีย” ช่วยสาธารณสุขรู้ล่วงหน้า 3 สัปดาห์ก่อนระบาด
หนึ่งในวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคที่ติดต่อได้ง่ายและรวดเร็วในแต่ละชุมชนหรือแต่ละพื้นที่ ก็คือการเก็บตัวอย่างน้ำจากแหล่งน้ำเสียในชุมชน มาทำการตรวจวิเคราะห์หาปริมาณเชื้อก่อโรคเหล่านั้นด้วยวิธีการที่ถูกต้องและได้มาตรฐานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง