คณะวิศวฯ จุฬาฯ เดินหน้าประเมินคาร์บอนฟุตพรินท์องค์กร รับมือวิกฤตภูมิอากาศ มุ่งสู่เป้าหมาย Net Zero

ปัจจุบันปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกลายเป็นหนึ่งในวิกฤตสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของมนุษย์ทั่วโลก อุณหภูมิโลกที่เพิ่มสูงขึ้นจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างต่อเนื่องนำมาซึ่งภัยพิบัติทางธรรมชาติ ความแปรปรวนของฤดูกาล และผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารและทรัพยากรน้ำ ซึ่งประเทศไทยเองก็ได้รับผลกระทบอย่างชัดเจน เพื่อรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว การพัฒนาความรู้และขีดความสามารถของบุคลากรด้านการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจึงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างเร่งด่วน รวมถึงการประเมินคาร์บอนฟุตพรินท์ขององค์กรที่ถือเป็นเครื่องมือในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

วิศวฯ จุฬาฯ ร่วมกับ กัลฟ์ และสถานีวิทยุ จุฬาฯ เปิดตัวโครงการ Green Mission by Chula x GULF ภารกิจรักษ์ยั่งยืน ชวนนักเรียนคิดค้นนวัตกรรมสร้างสรรค์ในโจทย์ “Beware Your Step ก้าวต่อไปไร้รอยเท้า”

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับบริษัท กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) (กัลฟ์) และสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สถานีวิทยุแห่งจุฬาฯ) ภายใต้กำกับดูแลของ สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดงานแถลงข่าวโครงการ Green…

วิศวฯ จุฬาฯ ไม่ทนปัญหาฝุ่นพิษ ชวนคนไทยรู้ทันสถานการณ์ฝุ่น ผ่านแอป Sensor for all

เมื่อปัญหาของฝุ่น PM 2.5 หรือฝุ่นจิ๋ว ที่มีพิษและอันตรายสูง กลายมาเป็นปัญหาใหญ่ที่กระทบคุณภาพชีวิตคนไทยอย่างจริงจัง และกลายมาเป็นวาระแห่งชาติในปัจจุบัน

วิศวฯ จุฬาฯ เปิดตัว CFiD แอปลดโลกร้อน ใช้ชีวิตให้ไม่รู้สึกผิดต่อโลก

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และภาวะโลกร้อน ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้คนในสังคมโลกต่างพากันปรับตัวเพื่อลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

คณะวิศวฯ จุฬาฯ หนุนเทคโนโลยีดักจับ ใช้ประโยชน์ และกักเก็บ CO2 ผ่าน Thailand CCUS Consortium

การลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากภาคอุตสาหกรรมเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยลดผลกระทบของการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสภาวะโลกร้อน ซี่งเป็นเรื่องสำคัญระดับโลกที่องค์การสหประชาชาติเรียกร้องให้ทุกประเทศเร่งลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อรักษาระดับอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกไม่ให้สูงเกิน 2 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม

วิศวฯ จุฬาฯ รับตรวจ ซีเซียม 137 ให้กับประชาชนที่กังวลได้รับรังสี

จากกรณีข่าว “ท่อวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137” ได้หายไปจากโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำใน อ.ศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบุรี และตรวจพบภายหลัง อาจจะถูกหลอมไปแล้วที่โรงงานหลอมเหล็กแห่งหนึ่ง ในจังหวัดปราจีนบุรีนั้น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save