เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2567 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ได้เผยแพร่บทความวิชาการ เรื่อง “ปัญหามลพิษจากฝุ่น PM2.5: แนวทางการป้องกันและลดการเผาในที่โล่ง และร่างงบประมาณ พ.ศ.2567” โดย ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร…
Tag: ปัญหาฝุ่น PM2.5
จับตาแนวทางแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ด้วย ววน. นำร่อง 2 จังหวัดก่อนขยายผลไปเชียงใหม่ – ขอนแก่น
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบข้าราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.) ร่วมแถลงข่าว “ววน.รวมพลังฝ่าวิกฤต PM2.5” เพื่อร่วมหาแนวทางในการแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5…
วช. ร่วมกับเครือข่ายนักวิจัยพัฒนานวัตกรรมรับมือฝุ่นจิ๋ว พร้อมแนะแนวทางแก้ปัญหาในแต่ละภูมิภาคของประเทศ
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ เครือข่ายนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) จัดงานเสวนาวิชาการเรื่อง “วิจัย นวัตกรรม สู้ฝุ่นจิ๋ว” เพื่อนำเสนองานวิจัยและนวัตกรรมในการแก้ปัญหาฝุ่น…
ถึงเวลาคนไทยร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมช่วงหน้าหนาวสู้ภัยฝุ่นจิ๋ว
เช้าวันจันทร์ที่ 14 ธันวาคม ที่ผ่านมา กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ได้รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่าพื้นที่มีปริมาณฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.) และเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพถึง 56 พื้นที่ (พื้นที่สีส้ม) จากนั้นในวันรุ่งขึ้น…
ดราม่า เรื่อง PM2.5 ตอน 5 : ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
ได้อธิบายไว้ก่อนหน้านี้แล้วว่าเรื่องมลพิษอากาศโดยเฉพาะเรื่องฝุ่นจิ๋ว PM2.5 เป็นเรื่องซับซ้อนที่ทำความเข้าใจได้ไม่ง่าย แต่ในความซับซ้อนนั้นเราก็อยากจะแสดงบทบาทนักวิชาการให้ข้อคิดและข้อเสนอแนะดังนี้
ดราม่า เรื่อง PM2.5 ตอน 4 : รู้ให้ไว ไหวให้ทัน
ขอย้ำอีกครั้งว่า แม้จะเขียนจั่วหัวเรื่องไว้ในตอนที่ 1 ว่าเป็นเรื่องดราม่า อันเนื่องมาจากคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครที่เลวมากในช่วงปลายมกราคมต่อต้นกุมภาพันธ์เมื่อต้นปี 2561 โดยดูหรือวัดเอาจากค่าสารมลพิษอากาศหรือ PM2.5 แต่เมื่อเวลาผ่านไปสภาพลมฟ้าดีขึ้น ลมร้อนเริ่มมาและพัดแรงขึ้น มลพิษทั้งหลายซึ่งจริงๆไม่ได้มีแค่เพียง PM2.5 ก็ถูกพัดพาให้กระจายออกไป ปัญหามลพิษอากาศจึงน้อยลง และดราม่าเรื่องนี้ก็คล้ายๆกับเรื่องอื่นๆ คือจางหายไปกับสายลม…
ดราม่า เรื่อง PM 2.5 ตอน 3 : สถานการณ์ของ กทม.
โดยปกติแล้วฝุ่นโดยเฉพาะฝุ่นขนาดใหญ่ เดิมไม่ค่อยได้รับความสนใจจากนักวิทยาศาสตร์และเจ้าหน้าที่รัฐเท่ากับสารมลพิษอากาศตัวอื่นๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไปวิทยาการก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้เราเริ่มมีความเข้าใจมากขึ้นว่าฝุ่น หากมีขนาดเล็กมากๆ ก็สามารถมีอันตรายไม่น้อยกว่าสารมลพิษอากาศตัวอื่นๆ จนถึงขนาดองค์การอนามัยโลกต้องเข้ามามีบทบาทชี้นำในระดับนานาชาติ
ดราม่า เรื่อง PM2.5 ตอน 2 : มาตรฐานที่ต่างกัน
อย่างที่เกริ่นไว้ในตอน 1 ว่า “แม้จะเขียนจั่วหัวเรื่องว่าเป็นเรื่องดราม่า อันเนื่องมาจากคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครที่เลวมากในช่วงปลายมกราคมต่อต้นกุมภาพันธ์เมื่อต้นปี 2561 โดยดูหรือวัดเอาจากค่าสารมลพิษอากาศหรือ PM2.5 แต่เมื่อเวลาผ่านไปสภาพลมฟ้าดีขึ้น ลมร้อนเริ่มมาและพัดแรงขึ้น มลพิษทั้งหลาย ซึ่งจริงๆไม่ได้มีแค่เพียง PM2.5 ก็ถูกพัดพาให้กระจายออกไป ปัญหามลพิษอากาศจึงน้อยลง และดราม่าเรื่องนี้ก็คล้ายๆกับเรื่องอื่นๆ…
ดราม่า เรื่อง PM 2.5 ตอน 1 : ความเข้าใจพื้นฐาน
แม้จะเขียนจั่วหัวเรื่องว่าเป็นเรื่องดราม่า อันเนื่องมาจากคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครที่เลวมากในช่วงปลายมกราคมต่อต้นกุมภาพันธ์ เมื่อต้นปี 2561 โดยดูหรือวัดเอาจากค่าสารมลพิษอากาศหรือ PM 2.5 แต่เมื่อเวลาผ่านไป สภาพลมฟ้าดีขึ้น ลมร้อนเริ่มมาและพัดแรงขึ้น มลพิษทั้งหลายซึ่งจริงๆ ไม่ได้มีแค่เพียง PM 2.5 ก็ถูกพัดพาให้กระจายออกไป ปัญหามลพิษอากาศจึงน้อยลง…