เมื่อพลังงานกำลังกลายเป็นทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์จำเป็นต้องมี จำเป็นต้องใช้ พลังงานกลายเป็น ยุทธปัจจัยที่มนุษย์ต้องแย่งชิง แสวงหา เพื่อสร้างความได้เปรียบและมีความสำคัญไม่แตกต่างไปจากปัจจัย 4 ที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลังงานทดแทน ซึ่งมีชื่อเรียกอย่างไพเราะน่าฟัง เช่น พลังงานสีเขียว พลังงานหมุนเวียน เหล่านี้กำลังทวีความจำเป็นสำหรับมนุษย์มากยิ่งขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องเพื่อให้โลกใบเก่าของเรามีอายุยืนยาวยิ่งขึ้น
Tag: เชื้อเพลิง
สนพ.เปิดตัวเลขการใช้พลังงาน 9 เดือนแรก ปี’64 เพิ่มขึ้น 0.01%และทั้งปีเพิ่มแค่ 0.2% เหตุเศรษฐกิจชะลอตัว – COVID-19 ระบาด
นายวัฒนพงษ์ คุโรวาท ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กล่าวถึงสถานการณ์พลังงานในช่วง 9 เดือนแรก(มกราคม-กันยายน) ปี 2564 พบว่า การใช้พลังงานขั้นต้นเพิ่มขึ้น 0.01% จากการใช้ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน/ลิกไนต์ ไฟฟ้าพลังน้ำและไฟฟ้านำเข้า เพิ่มขึ้นตามสภาวะเศรษฐกิจในช่วงต้นปี…
สนพ. เผยยอดใช้พลังงาน 6 เดือนแรกปี 64 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.8 คาดการใช้พลังงานทั้งปีเพิ่มเพียงร้อยละ 0.1
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เปิดเผยถึงสถานการณ์พลังงานครึ่งปีแรก 2564 ยอดการใช้พลังงานขั้นต้นเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.8 จากเศรษฐกิจที่เริ่มส่งสัญญาณฟื้นตัวในช่วงต้นปี โดยมองว่าการใช้พลังงานทั้งปีจะเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 0.1 ตามภาวะเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาการผลิตเพื่อการส่งออก คาดการณ์ว่าการใช้พลังงานจะเพิ่มขึ้นเกือบทุกประเภทยกเว้นการใช้น้ำมัน
สนพ. สรุปสถานการณ์พลังงานปี 2563 และแนวโน้มปี 2564
สนพ. เปิดเผยถึงสถานการณ์พลังงานปี 2563 ความต้องการใช้พลังงานลดลง 5.8% จากการใช้น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน/ลิกไนต์ ที่ลดลง ในขณะที่การใช้พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น 0.4% ด้านแนวโน้มการใช้พลังงานในปี 2564 สนพ. ได้มีการพยากรณ์โดยอ้างอิงสมมุติฐานด้านเศรษฐกิจ และนโยบายที่เกี่ยวข้องมาเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้พลังงาน…
สนพ. สรุปสถานการณ์พลังงาน 6 เดือนแรกของปี 2563 และเผยทิศทางพลังงานปี 63”
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เปิดเผยสถานการณ์พลังงานในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2563 พบว่า ภาพรวมการใช้พลังงานขั้นต้นลดลงร้อยละ 10.1 ตามภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงเนื่องจากผลกระทบจากสถานการณ์ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ส่งผลให้ความต้องการใช้พลังงานและการเติบโตทางเศรษฐกิจภายในประเทศหยุดชะงัก
10 แหล่งพลังงานทดแทน เพื่อการผลิตไฟฟ้าแห่งอนาคต
เราทราบกันดีว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด และคาดว่าในไม่ช้า เชื้อเพลิงชนิดนี้จะหมดไป เมื่อถึงตอนนั้นเราจะใช้เชื้อเพลิงจากที่ไหนเพื่อเป็นแหล่งพลังงาน…. คำตอบก็คือ “พลังงานทดแทน” ซึ่งจะกลายเป็นแหล่งพลังงานหลักต่อไป แต่เมื่อกล่าวถึง “พลังงานทดแทน” คนส่วนใหญ่อาจจะนึกไปถึงพลังงานอย่าง พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานน้ำ ซึ่งเป็นพลังงานทางเลือกที่เป็นพลังงานทดแทนที่ใช้กันมานานแล้ว แต่นอกจากพลังงานเหล่านี้ ยังมีคนอีกจำนวนหนึ่งที่พยายามค้นคว้า…
โรงไฟฟ้าชุมชน สวัสดิการแห่งรัฐ… รูปแบบใหม่
สิบกว่าปีมานี้ที่ประเทศไทยได้สนับสนุนให้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน โดยให้เหตุผลว่าเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านไฟฟ้าในประเทศ ตลอดระยะเวลาอันยาวนานประเทศไทยก็ไม่เคยขาดแคลนไฟฟ้าเลย ในทางกลับกันกำลังไฟฟ้าที่สำรองไว้กลับเกินกว่ามาตรฐานที่กำหนดไว้ 15% กว่าเท่าตัว ดังนั้นประโยชน์ของการเสริมพลังงานทดแทนอย่างมากมาย คงไม่ได้ช่วยด้านความมั่นคง แต่เป็นการเปิดประตูสู่ธุรกิจใหม่ด้านพลังงานเสริมสร้างความมั่นคงด้านเศรษฐกิจ ทำให้เกิดมหาเศรษฐีเพิ่มขึ้นในระดับประเทศและระดับโลกหลายท่าน อันเนื่องมาจากธุรกิจขายไฟฟ้าให้ภาครัฐแท้ที่จริงเป็นธุรกิจสัมปทาน ซื้อขายล่วงหน้ากันถึง 20 ปี และในหลายๆ ช่วงเวลาที่ผ่านมา…
กฟผ. จับมือ Stadtwerke Rosenheim พัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน เน้นเชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass) และก๊าซชีวภาพ (Biogas)
กฟผ. ร่วมกับ Stadtwerke Rosenheim ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) เพื่อร่วมกันศึกษาพัฒนาโรงไฟฟ้าชุมชนประเภทชีวมวล (Biomass) และก๊าซชีวภาพ (Biogas) ตามนโยบายพลังงานเพื่อเศรษฐกิจฐานราก มุ่งยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน และสร้างความมั่นคงทางพลังงาน
ความสำเร็จสัมปทานแหล่งพลังงาน เอราวัณ-บงกช อีกก้าวของความมั่นคง อนาคตพลังงานไทย
การลงนามสัญญาแบ่งปันผลผลิต (PSC) อย่างเป็นทางการครั้งแรกของประเทศไทย สำหรับแหล่งปิโตรเลียม 2 แหล่งใหญ่ที่สุดของประเทศ คือ แหล่งเอราวัณและบงกชผ่านพ้นไปแล้ว หลังกระทรวงพลังงาน ลงนามสัญญากับ ปตท.สผ.และมูบาดาลา ของยูเออี ผู้ชนะการประมูลไปเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา หลังจากที่ต้องฝ่าฟันอุปสรรคมากว่า…