บลู โอเชียน พลาสติก รีไซคลิ่ง ผนึกกำลังชุมชนบนเกาะสมุย ขจัดปัญหาขยะพลาสติกในทะเล

บลู โอเชียน พลาสติก รีไซคลิ่ง (Blue Ocean Plastic Recycling) สตาร์ตอัปด้านการจัดเก็บและรีไซเคิลขยะพลาสติกในทะเลเดินหน้าโครงการรีไซเคิลที่ขับเคลื่อนโดยชุมชนบนเกาะสมุย เพื่อต่อสู้กับขยะพลาสติกในทะเลและตามแนวชายฝั่งควบคู่การพัฒนาระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อประโยชน์ของชุมชนและธุรกิจในท้องถิ่น

ไทย จับมืออียู ร่วมปลุกจิตสำนึกการคัดแยกขยะให้เยาวชนภูเก็ต

ภูเก็ต : โครงการส่งเสริมการใช้เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อจัดการปัญหาขยะทะเล ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสหภาพยุโรป (EU) และกระทรวงเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (BMZ) ดำเนินงานโดยองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจำประเทศไทย ร่วมกับเทศบาลนครภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต มูลนิธิเพื่อสิ่งแวดล้อมภูเก็ต และมูลนิธิคุณ (KHUN…

‘โคคา-โคล่า’ จับมือพันธมิตร ‘The Ocean Cleanup’ เดินหน้าทำความสะอาดแม่น้ำ 15 แห่งทั่วโลก ป้องกันการรั่วไหลของขยะพลาสติกลงสู่มหาสมุทร

เดอะโคคา-โคล่า คัมปะนี จับมือ The Ocean Cleanup พันธมิตรระดับโลกรายแรก เพื่อร่วมกันทำงานในโครงการทำความสะอาดแม่น้ำเดินหน้าแนะนำและดำเนินการติดตั้งนวัตกรรมเครื่อง Interceptor เครื่องทำความสะอาดแม่น้ำพลังงานแสงอาทิตย์ในแม่น้ำ 15 แห่งทั่วโลกให้เสร็จสิ้นภายในสิ้นปี 2565 มุ่งผสานพลังองค์กรระดับโลกของ โคคา-โคล่า เข้ากับโซลูชันข้อมูลและเทคโนโลยีของ…

3 จังหวัดท่องเที่ยวชายทะเลชื่อดังของไทย นำร่องจัดการปัญหาขยะพลาสติกในทะเล

“ขยะทะเล” เป็นปัญหาท้าทายระดับโลกที่ทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อระบบนิเวศ การประมง และการท่องเที่ยวบรรจุภัณฑ์พลาสติกและพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว เช่น หลอดถุงพลาสติก ส่งผลให้เกิดขยะทะเลในปริมาณมาก เอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้มีขยะที่ไหลลงสู่ทะเลมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ โดยทวีปเอเชียได้ชื่อว่าเป็นผู้ผลิตพลาสติกมากถึงร้อยละ 50 ของโลก ขยะทะเลในที่นี้รวมไปถึงเครื่องมือหาปลาที่สูญหายหรือถูกโยนทิ้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อสัตว์น้ำกว่า 800…

ทช. จับมือ The Ocean Cleanup นำนวัตกรรมเรือดักเก็บขยะแม่น้ำเจ้าพระยาพลังงานแสงอาทิตย์ มุ่งแก้ไขปัญหาขยะทะเล

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) ร่วมกับ The Ocean Cleanup องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรของเนเธอร์แลนด์ และเป็นผู้คิดค้นเรือดักเก็บขยะ (Interceptor) ในมหาสมุทร ส่งนวัตกรรมเครื่อง Interceptor เครื่องเก็บขยะเพื่อวิจัยขยะพลาสติกในแม่น้ำ และดักจับเก็บขยะในแม่น้ำของประเทศไทยก่อนออกสู่ทะเล โดยจะติดตั้งบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยา จ.สมุทรปราการ

ชุมชน-รัฐ-เอกชนผนึกกำลัง เตรียมจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนแปรรูปขยะพลาสติค ช่วยแก้ปัญหาขยะพลาสติคล้นทะเลฝั่งตะวันออก

เมื่อเร็วๆ นี้ ชุมชนบ้านอำเภอ เทศบาลตำบลนาจอมเทียน อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี ร่วมกับ บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (MQDC)…

“Save the Ocean” ปรับพฤติกรรมง่ายๆ ช่วยปกป้องฟื้นฟูมหาสมุทร

มหาสมุทรผืนน้ำทะเลขนาดใหญ่ที่ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 ของพื้นผิวโลก (71%) เป็นที่อยู่อาศัยพึงพิงของสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศที่สำคัญ มหาสมุทรช่วยควบคุมสภาพอากาศ ช่วยสร้างออกซิเจนมากกว่าครึ่งหนึ่งของปริมาณออกซิเจนทั้งหมด และเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของมนุษย์ แต่ในปัจจุบันมหาสมุทรกำลังเผชิญกับวิกฤต ระบบนิเวศมหาสมุทรและทะเลที่อุดมสมบูรณ์กำลังถูกคุกคามจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ โดยเฉพาะปัญหาขยะ หรือ “ขยะทะเล”…

ทส. จับมือองค์กร Ocean Cleanup จากเนเธอร์แลนด์ มุ่งแก้ไขปัญหาขยะทะเล

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมด้วยผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงฯ ได้หารือกับ CEO องค์กร Ocean Cleanup องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากเนเธอร์แลนด์ เพื่อหารือประเด็นการจัดการขยะ และจัดทำข้อตกลงโครงการวิจัยเก็บขยะแม่น้ำก่อนออกสู่ทะเล มุ่งแก้ไขปัญหาขยะทะเล ลดการสร้างขยะ เพื่อทำให้ประเทศไทยหลุดจากประเทศอันดับ 6 ที่ปล่อยขยะลงทะเลมากที่สุดในโลกให้ได้

มลพิษขยะพลาสติก กับภัยเงียบที่ซ่อนพิษร้ายในอาหาร และทำลายระบบประสาทของมนุษย์ได้

ย้อนไปในช่วงกลางทศวรรษ 1950 ที่เมืองมินามาตะ ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะคิวชูทางตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่น ที่นี่มีอ่าวมินามาตะเป็นส่วนหนึ่งของทะเลชิรานุย (Shiranui Sea) ทั้งทะเลชิรานุยและอ่าวมินามาตะนั้นเป็นทะเลที่เงียบสงบ สวยงาม อุดมด้วยปลาและสัตว์น้ำนานาชนิด ชาวประมงใช้เครื่องมือที่หลากหลายเพื่อจับปลาที่มีอยู่มากมาย หรือแม้แต่ไม่ต้องมีเครื่องมือก็ยังทำมาหากินได้ ดังที่ปรากฏว่ามีชาวบ้านจำนวนหนึ่งที่จับหอยบนหาดและเก็บสาหร่ายทะเลไปขายเป็นอาชีพหลัก มินามาตะจึงนับเป็นเขตอุตสาหกรรมประมงที่สำคัญเขตหนึ่งของญี่ปุ่น ซึ่งนั้นนับเป็นเรื่องราวความสงบสุขและความสวยงามที่ธรรมชาติสรรค์สร้างให้กับชาวเมืองมินามาตะ ก่อนที่จะเกิดเรื่องราวอีกบทหนึ่ง…

45 พันธมิตรผนึกพลัง เร่งผลักดันแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน แก้วิกฤตทรัพยากรขาดแคลนและขยะล้นโลก

45 พันธมิตรผนึกพลัง เร่งผลักดันแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน ตลอดวงจรการผลิต-บริโภค-นำกลับมาใช้ใหม่ให้คุ้มค่า รณรงค์ “ใช้ให้คุ้ม แยกให้เป็น ทิ้งให้ถูก” แก้วิกฤตทรัพยากรขาดแคลนและขยะล้นโลก

ขยะไม่มีที่อยู่

ในทุกวันนี้ที่เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีพัฒนาไปเป็นอย่างมาก ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์มีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดด โดยจะเห็นได้จากจำนวนประชากรที่มากยิ่งขึ้น รวมไปถึงคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละพื้นที่รอบโลก แต่อย่างไรก็ตาม การก้าวกระโดดอย่างรวดเร็วนี้กลับทิ้งหลายสิ่งหลายอย่างไว้ในรูปของ “ขยะ” โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกาที่มีค่าเฉลี่ยการผลิตขยะต่อคนสูงที่สุดในโลก ซึ่งสร้างปริมาณขยะเป็น 12% ของปริมาณขยะทั่วโลก ทั้งๆ ที่อเมริกามีประชากรเพียง…

KHYA รองเท้าแตะคืนชีพจากทะเล โดย นันยาง ร่วมมือกับ ทะเลจร

บริษัท นันยาง จำกัด ร่วมมือกับ ทะเลจร ภายใต้แบรนด์ Upcycled ซึ่งเป็นวัสดุจากทะเล เป็นองค์กรไม่แสวงผลกำไร ได้จัดทำโปรเจค “รองเท้าขยะ KHYA (ขยะ)” ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นโครงการดีๆที่จะเป็นตัวอย่างและสัญลักษณ์ที่ใช้สื่อสารกับผู้คนในสังคมเพื่อเป็นการช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทะเล โดยรายได้จากการจำหน่ายรองเท้า จะถูกนำกลับไปมอบให้แก่หน่วยงานและโครงการเพื่อเพิ่มสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save