ปัญหาดินเค็มและดินไม่อุ้มน้ำถือเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการเพาะปลูกของเกษตรกรในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย เนื่องจากเมื่อหลายล้านปีก่อนพื้นที่นี้เคยเป็นทะเล ทำให้มีชั้นหินเกลือแทรกในชั้นน้ำใต้ดิน และพื้นที่เป็นดินทราย ซึ่งเก็บกักน้ำและสารอาหารได้น้อย ในฤดูฝน น้ำฝนจะซึมลงดินอย่างรวดเร็ว ในฤดูแล้ง น้ำใต้ดินจะไหลขึ้นผ่านช่องว่างของเม็ดดิน แล้วเกิดผลึกเกลือที่ผิวหน้าของดิน ส่งผลให้การเพาะปลูกพืชเป็นไปได้ยากลำบาก จึงเป็นโจทย์สำคัญที่สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จัดทำโครงการ…
Tag: งานวิจัย
นักวิจัย ม.มหิดล ค้นพบฝุ่น PM2.5 เสี่ยงกระดูกพรุนจากภาวะอักเสบในหนูทดลอง
ในขณะที่ PM2.5 ปกคลุมโลก ไม่เพียงส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แต่ส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสุขภาวะ ที่คุกคามต่อการเกิดโรคต่างๆ รวมถึงความเสี่ยงกระดูกพรุนจากภาวะอักเสบทั่วร่างกาย ที่ค้นพบจากการวิจัยในหนูทดลอง โดย หน่วยวิจัยด้านแคลเซียมและกระดูก (COCAB – Center of Calcium…
JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ชูมาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง – หนุนใช้รถ EV ลดฝุ่นได้ 10%
ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5…
จาก ‘เปลือกหอยแมลงภู่’ สู่สารเคลือบช่วยดูดซับคราบน้ำมัน ตอบโจทย์ BCG
From Waste to Wow and Wealth! ผลงานของนักวิจัยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เปลี่ยนขยะจากอุตสาหกรรมอาหารอย่างเปลือกหอยแมลงภู่เป็น “อนุภาคนาโนอะราโกไนต์” แคลเซียมคาร์บอเนตชีวภาพ ซึ่งโดดเด่นด้วยความบริสุทธิ์และพื้นที่ผิวสูง เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนสมบัติเชิงพื้นผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในดูดซับคราบน้ำมัน…
บ้านปู จับมือ สวทช. วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุตสาหกรรมพลังงาน มุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน
บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมนวัตกรรมอุตสาหกรรมในการเร่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี
นาโนเทค สวทช. พัฒนาเครื่องเก็บตัวอย่างฝุ่น พร้อม NanoSampler ใช้วิเคราะห์ข้อมูลฝุ่น ใน 3 พื้นที่ กทม. หนุนรัฐจัดการมลพิษ
เมื่อฝุ่นละอองกลายเป็นวาระแห่งชาติ ทีมวิจัย ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงได้ออกแบบและพัฒนาเครื่องเก็บตัวอย่างฝุ่นโดยประยุกต์ใช้ร่วมกับอุปกรณ์ NanoSampler นำร่องติดตั้งใน 3 พื้นที่ของ กทม. (อารีย์, บางนา และดินแดง) ชูความต่างที่สามารถเก็บและแยกตามขนาดฝุ่นละอองขนาดเล็กเป็น…
นักวิจัย มข. สุดเจ๋ง เปิดตัว “แบตเตอรี่โซเดียมไอออนจากแร่เกลือหิน” รองรับพลังงานทดแทน
ครั้งแรกในอาเซียน นักวิจัย มข. สุดเจ๋ง ผลิตแบตเตอรี่โซเดียมไอออนจากแร่เกลือหิน รองรับการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน และอุตสาหกรรมแบตเตอรีในอนาคต ด้าน กพร. เผยเตรียมดันไทยเป็นอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ครบวงจรพลังงานทางเลือกของโลก
ซินโครตรอนรุกวังน้ำเขียว นำเทคโนโลยีขั้นสูง เพิ่มคุณค่ากาแฟอินทรีย์
ทีมนักวิทยาศาสตร์สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ลงพื้นที่วังน้ำเขียวนำความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีแสงซินโครตรอน ร่วมหารือผู้ประกอบการธุรกิจกาแฟ สู่ความร่วมมือวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณค่ากาแฟต่อไปในอนาคต
ทีมวิจัย กฟผ. สุดเจ๋ง พัฒนา “โดรนตรวจสอบคุณภาพน้ำ” สำเร็จ พร้อมต่อยอดทางธุรกิจ วางเป้าสู่ผู้นำการให้บริการโดรนตรวจน้ำในอนาคต
ทีมนักวิจัย กฟผ. จากโครงการวิจัยการพัฒนาระบบตรวจวัดคุณภาพน้ำอัตโนมัติโดยอากาศยานไร้คนขับ พัฒนาโดรนตรวจสอบคุณภาพน้ำและเก็บตัวอย่างน้ำแบบอัตโนมัติสำเร็จ ส่งมอบให้แก่โรงไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้งานจริง เตรียมต่อยอดสร้างโอกาสในเชิงธุรกิจ พร้อมวางเป้าหมายสู่ผู้นำการให้บริการโดรนตรวจน้ำในอีก 3 ปีข้างหน้า
นักวิจัย มจธ.พัฒนา “เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงและเคมีชีวภาพแบบบูรณาการ” แปรสภาพชีวมวลและพืชน้ำมันเป็นผลิตภัณฑ์-สารเคมีมูลค่าสูงแบบไร้ของเสียอย่างยั่งยืน รองรับการเปลี่ยนผ่านสู่ Carbon Neutrality
เมื่อการใช้พลังงานกำลังเปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับข้อตกลงร่วมกันของประชาคมโลกในการแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) จึงประกาศให้ทุกประเทศจะต้องมีความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality)
สวพส. แนะ 7 แนวทางปลูกพืชผักบนพื้นที่สูงให้ได้คุณภาพ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) หรือ สวพส. เสนอแนะ 7 แนวทางปลูกพืชผักบนพื้นที่สูงให้ได้คุณภาพ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อความยั่งยืนของการประกอบอาชีพปลูกพืชผัก เผยโครงการหลวงและสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ได้ส่งเสริมให้เกษตรกรบนพื้นที่สูงจำนวนมาก ปลูกพืชผักเป็นอาชีพมาเป็นระยะเวลายาวนาน โดยในปีหนึ่ง ๆ มีผลิตผลที่ผ่านระบบบริหารจัดการด้านการตลาดรวมมากกว่า 25,552…
ศาสตราจารย์นักวิจัย มจธ. ที่ 1 ในไทยจากการจัดอันดับโดย The Reuters Hot List 2021 ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2564 สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) ได้จัดอันดับ 1,000 นักวิจัยทางด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก หรือ The Reuters Hot List 2021 ซึ่งผลการจัดอันดับในปีนี้…