นาโนเทค พัฒนา “นวัตกรรมสารคีเลต 8 ชนิด” ตอบโจทย์ความต้องการอุตฯ อาหารสัตว์ลดการทิ้งของเสีย – เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

นักวิจัยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สวทช.) รับทุน Spearhead พัฒนาต้นแบบสารคีเลต 8 ชนิด สู่ธาตุอาหารเสริมแบบ คอกเทล ซึ่งพัฒนาสูตรให้เหมาะกับสัตว์ประเภทต่างๆ ได้ ตอบโจทย์ความต้องการของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ในการเพิ่มประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ลดการทิ้งของเสีย…

คนร.ไฟเขียว ตั้ง 2 บริษัทลูก กฟน. และ กฟผ. รุกธุรกิจพลังงานทดแทน ยกระดับการจัดการด้านพลังงานด้วยนวัตกรรม

การประชุมคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจเห็นชอบในหลักการจัดตั้งบริษัทในเครือรัฐวิสาหกิจ 2 แห่ง คือ 1. บริษัทในเครือของกฟน. บริษัท MEA Smart Energy Solutions เพื่อดำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับการให้บริการให้คำปรึกษา การออกแบบ ติดตั้ง บำรุงรักษา และลงทุนด้านการบริหารจัดการระบบพลังงานทดแทน…

Pylontech ทุ่มเทวิจัยและพัฒนานวัตกรรมล้ำสมัย สนองความต้องการระบบกักเก็บพลังงานทั่วโลก

Pylon Technologies Co., Ltd. (“Pylontech” หรือ “Company”) ผู้ให้บริการระบบกักเก็บพลังงาน (ESS) ชั้นนำของโลก ประกาศว่า บริษัทมีความคืบหน้าตามแผนงานในการขยายขีดความสามารถให้ถึง 4GWh ภายในเวลา 3 ปี…

นักวิจัย มจธ. พัฒนา “ท่อเพิ่มความร้อนฯ” และ “นวัตกรรมอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน” เพิ่มสมรรถนะทางความร้อนให้สูงขึ้น-ประหยัดพลังงานมากยิ่งขึ้น

ผลงาน “ท่อเพิ่มความร้อนสำหรับเพิ่มสมรรถนะทางอุณหภาพ” โดย ศ. ดร.สมชาย วงศ์วิเศษ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และคณะนักวิจัย ซึ่งประกอบด้วย ดร.คณิต อรุณรัตน์ ดร.สุริยัน เลาหเลิศ…

สกสว. ร่วมกับ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ลงนาม MOU สานพลังงานวิจัยตอบโจทย์พัฒนาประเทศด้านนิติบัญญัติ

สกสว. ร่วมกับ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ลงนามบันทึกความตกลงว่าด้วยการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ต่อสถาบันนิติบัญญัติ ครอบคลุม 3 กิจกรรมใหม่ เชื่อมโยงระบบวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม กับการพัฒนางานด้านนิติบัญญัติของประเทศ โอกาสนี้คณะผู้จัดงาน ได้รับเกียรติจากท่าน ชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร…

สวพส. โชว์ผลงานวิจัย “โลกร้อน…กับเกษตรบนดอย” ปรับตัวและแก้ไขอย่างไร กับสภาพอากาศที่แปรปรวน

นักวิจัย สวพส. เผยผลงานวิจัย “โลกร้อน…กับเกษตรบนดอย” หวังเป็นแนวทางในการสร้างกลยุทธการวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตร โดยเฉพาะพื้นที่ของมูลนิธิโครงการหลวง ที่พบกับการผันแปรของสภาพอากาศระหว่างปีค่อนข้างสูง โดยบูรณาการจากภาครัฐเอกชน และเกษตรกร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศทั้งระยะสั้นและระยะยาว การวิจัยศึกษาด้านสภาพภูมิอากาศและการวิจัยพืช เทคโนโลยีต่าง ๆ ที่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศจึงเป็นสิ่งสำคัญ รวมถึงการสร้างการรับรู้ของสถานการณ์ ศึกษาวิธีการ…

มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง วิจัยพัฒนาการผลิตสับปะรด เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร จ.ราชบุรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงได้ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการผลิตสับปะรด ตลอดห่วงโซ่การผลิต เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2563 ทางมหาวิทยาลัยได้แถลงผลการวิจัย ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ สกสว. และ สํานักงานการวิจัยแห่งชาติ หรือ วช.…

มลพิษขยะพลาสติก กับภัยเงียบที่ซ่อนพิษร้ายในอาหาร และทำลายระบบประสาทของมนุษย์ได้

ย้อนไปในช่วงกลางทศวรรษ 1950 ที่เมืองมินามาตะ ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะคิวชูทางตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่น ที่นี่มีอ่าวมินามาตะเป็นส่วนหนึ่งของทะเลชิรานุย (Shiranui Sea) ทั้งทะเลชิรานุยและอ่าวมินามาตะนั้นเป็นทะเลที่เงียบสงบ สวยงาม อุดมด้วยปลาและสัตว์น้ำนานาชนิด ชาวประมงใช้เครื่องมือที่หลากหลายเพื่อจับปลาที่มีอยู่มากมาย หรือแม้แต่ไม่ต้องมีเครื่องมือก็ยังทำมาหากินได้ ดังที่ปรากฏว่ามีชาวบ้านจำนวนหนึ่งที่จับหอยบนหาดและเก็บสาหร่ายทะเลไปขายเป็นอาชีพหลัก มินามาตะจึงนับเป็นเขตอุตสาหกรรมประมงที่สำคัญเขตหนึ่งของญี่ปุ่น ซึ่งนั้นนับเป็นเรื่องราวความสงบสุขและความสวยงามที่ธรรมชาติสรรค์สร้างให้กับชาวเมืองมินามาตะ ก่อนที่จะเกิดเรื่องราวอีกบทหนึ่ง…

บริหารจัดการน้ำบนสมาร์ทโฟน…ความท้าทายใหม่ภายใต้วิกฤติน้ำ

ปัจจุบันสถานการณ์น้ำท่วม น้ำแล้ง กำลังทวีความรุนแรงมากขึ้น เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ หรือ Climate Change ที่หลายประเทศทั่วโลกกำลังเผชิญอยู่ สำนักงานคณะกรรมการอำนวยการแผนงานยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม แผนการบริหารจัดการน้ำ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)…

ก้าวไปอีกขั้นกับแผ่นนาโนฟอสฟอรีน เพื่อการผลิต Perovskite Solar Cells เซลล์แสงอาทิตย์แห่งอนาคต

วัสดุนาโนที่ทำจากฟอสฟอรัส หรือที่รู้จักกันในชื่อฟอสฟอรีนกำลังก้าวมาเป็นองค์ประกอบสำคัญ ในการปูทางสู่การพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ Perovskite (Perovskite solar cells : PSCs) ที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืนยิ่งขึ้น

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ฯ จับมือ อาร์อี ไบโอเมทานอล วิจัยกระบวนการผลิตไบโอเมทานอลจากก๊าซชีวภาพ

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จับมือบริษัท อาร์อี ไบโอเมทานอล จำกัด ศึกษาเพิ่มมูลค่าก๊าซชีวภาพ โดยการผลิตไบโอเมทานอลจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่แยกออกจากก๊าซชีวภาพ

ครั้งแรกของโลก น้ำมันเชื้อเพลิงที่ผลิตจากคาร์บอนฯ และแสงอาทิตย์

ทีมนักวิจัยจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก สวิตเซอร์แลนด์ ได้พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่สามารถผลิตเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอนเหลว จากแสงแดดและอากาศได้เป็นครั้งแรก โดยเป็นการแยกก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากอากาศ ก่อนที่จะเปลี่ยนให้กลายเป็นเชื้อเพลิงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากไม่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกมาในระหว่างกระบวนการเผาไหม้

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save