“เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน ทางเลือกการบริหารจัดการภาระต้นทุนการต่อเชื่อมกับสายส่ง (Grid connection costs)”

ความท้าทายที่ต้องให้ความสำคัญของการพัฒนาด้านพลังงานหมุนเวียน คือ เรื่องของการร่วมจ่าย (Cost sharing) ของราคาพลังงานที่ผลิตจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน ยกตัวอย่างเช่น การที่ประชาชนต้องร่วมจ่ายเงินให้แก่โครงการพลังงานหมุนเวียนผ่านทางค่าธรรมเนียมพิเศษ

หัวเว่ยเผยคาดการณ์ 10 เทรนด์มาแรงในอุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ในอีก5 ปีข้างหน้า

ในช่วง 5 ถึง 10 ปีข้างหน้า พลังงานหมุนเวียนจะมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในฐานะแหล่งพลังงานหลักสำหรับการผลิตไฟฟ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งถือเป็นพลังงานหมุนเวียนที่มีความน่าสนใจ อีกทั้งยังเป็นอนาคตที่สดใสของแวดวงพลังงาน อย่างไรก็ตาม ด้วยความที่พลังงานหมุนเวียนมีสัดส่วนของการผลิตพลังงานสูงกว่ายอดการผลิตพลังงานทุกประเภทรวมกัน ฉะนั้น การการันตีความปลอดภัย ความน่าเชื่อถือ และการคุ้มค่าของทรัพยากรที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าจึงถือเป็นประเด็นที่ต้องให้ความสำคัญมากที่สุด

ว่าด้วยเรื่องของ “Flexibility Options of Power Systems”

“ความยืดหยุ่นของระบบโครงข่ายไฟฟ้า” การส่งเสริมระบบไฟฟ้าให้มีเสถียรภาพสามารถรองรับการผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์และลมได้มากที่สุดและมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งในปัจจุบันพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์กำลังเปลี่ยนสัดส่วนพลังงานทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ดังนั้นจึงต้องการความยืดหยุ่นของระบบเพื่อที่จะบูรณาการในแบบที่ปลอดภัยและคุ้มค่าต่อราคา รวมทั้งเพื่อมุ่งเน้นการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นสาเหตุของปัญหาโลกร้อน การนำ 2 ประเด็นหลักมาบูรณาการกันจึงถือว่าเป็นการเปลี่ยนจาก “ความท้าทาย” มาเป็น “โอกาส”

โรงไฟฟ้าชุมชน สวัสดิการแห่งรัฐ… รูปแบบใหม่

สิบกว่าปีมานี้ที่ประเทศไทยได้สนับสนุนให้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน โดยให้เหตุผลว่าเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านไฟฟ้าในประเทศ ตลอดระยะเวลาอันยาวนานประเทศไทยก็ไม่เคยขาดแคลนไฟฟ้าเลย ในทางกลับกันกำลังไฟฟ้าที่สำรองไว้กลับเกินกว่ามาตรฐานที่กำหนดไว้ 15% กว่าเท่าตัว ดังนั้นประโยชน์ของการเสริมพลังงานทดแทนอย่างมากมาย คงไม่ได้ช่วยด้านความมั่นคง แต่เป็นการเปิดประตูสู่ธุรกิจใหม่ด้านพลังงานเสริมสร้างความมั่นคงด้านเศรษฐกิจ ทำให้เกิดมหาเศรษฐีเพิ่มขึ้นในระดับประเทศและระดับโลกหลายท่าน อันเนื่องมาจากธุรกิจขายไฟฟ้าให้ภาครัฐแท้ที่จริงเป็นธุรกิจสัมปทาน ซื้อขายล่วงหน้ากันถึง 20 ปี และในหลายๆ ช่วงเวลาที่ผ่านมา…

กฟผ. จับมือ Stadtwerke Rosenheim พัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน เน้นเชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass) และก๊าซชีวภาพ (Biogas)

กฟผ. ร่วมกับ Stadtwerke Rosenheim ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) เพื่อร่วมกันศึกษาพัฒนาโรงไฟฟ้าชุมชนประเภทชีวมวล (Biomass) และก๊าซชีวภาพ (Biogas) ตามนโยบายพลังงานเพื่อเศรษฐกิจฐานราก มุ่งยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน และสร้างความมั่นคงทางพลังงาน

รมว. พลังงาน ชี้ 3 แนวทาง สู้ภัยฝุ่นควันขนาดเล็ก PM 2.5

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน เผยไม่ได้นิ่งนอนใจในเรื่องปัญหาฝุ่นควันขนาดเล็ก หรือ ฝุ่น PM 2.5 โดยกระทรวงพลังงานเตรียมใช้นโยบายที่มีอยู่แล้ว ทั้งแผนรองรับระยะสั้น ระยะกลาง และระยาว เพื่อช่วยบรรเทาปัญหา

สนพ. เผยแผน PDP 2018 พร้อมเดินหน้าเสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้า เปิดให้ดาวน์โหลดข้อมูลเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน

สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) พร้อมดำเนินการตามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ (PDP 2018) เพื่อสร้างความมั่นคงและความเพียงพอต่อความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศ โดยเปิดให้ดาวน์โหลดข้อมูลแก่ประชาชน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในประโยชน์ที่จะได้รับ

เจาะลึก PDP 2018 : พลังงานทดแทนแพะบูชายัญ

Power Development Plan (PDP 2018) แผนแม่บทในการจัดหา พลังงานไฟฟ้าของประเทศในระยะยาว ภายใต้เสาหลัก 3E คือ 1. Energy Security ความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้า 2. Economic…

กฟผ. ผุดแผนแม่บทยานยนต์ไฟฟ้า (EV) รองรับใช้ไฟโตตามแผนพีดีพีใหม่

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ตั้งคณะกรรมการฯ จัดทำแผนแม่บทยานยนต์ไฟฟ้า ตั้งรับความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น ตามแผนพีดีพี ซึ่งตั้งเป้าไว้ที่ 1.2 ล้านคัน ภายในปี 2579 คาดแผนฯ แล้วเสร็จภายในเดือนสิงหาคมนี้

กกพ. ตรึงราคาค่าไฟต่อ 4 เดือน (พฤษภาคม – สิงหาคม 2562)

น.ส.นฤภัทร อมรโฆษิต เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ในฐานะโฆษก กกพ. เปิดเผยมติคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) เรียกเก็บอัตราค่าไฟฟ้าผันแปร (ค่าเอฟที) สำหรับเรียกเก็บงวดเดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม 2562 อยู่ที่ลบ 11.60 สตางค์/หน่วย และไม่ปรับขึ้นจากงวดก่อน…

BGRIM โซลาร์ราชการ COD ตามแผน เวียดนามคืบกว่า 40% ดันกำลังการผลิตปี 62 พุ่ง 34%

บมจ. บี.กริม เพาเวอร์ “BGRIM” เผยความคืบหน้าโครงการโซลาร์ราชการและสหกรณ์ 7 โครงการ รวมกำลังการผลิต 30.8 เมกะวัตต์ COD แล้ว 3 โครงการ  ส่วน 4…

โอกาสและความท้าทาย การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานชีวมวลในประเทศไทย

เป็นที่ทราบกันดีว่า ประเทศไทยมิได้มีแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์ภายในประเทศมากพอที่จะรองรับความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้ต้องพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 60 ของความต้องการพลังงานเชิงพาณิชย์ทั้งหมด ดังนั้น เพื่อให้มั่นใจว่าในอนาคตประเทศไทยจะมีพลังงานใช้อย่างพอเพียง การพัฒนาพลังงานทดแทน จึงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save