“เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน ทางเลือกการบริหารจัดการภาระต้นทุนการต่อเชื่อมกับสายส่ง (Grid connection costs)”

ความท้าทายที่ต้องให้ความสำคัญของการพัฒนาด้านพลังงานหมุนเวียน คือ เรื่องของการร่วมจ่าย (Cost sharing) ของราคาพลังงานที่ผลิตจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน ยกตัวอย่างเช่น การที่ประชาชนต้องร่วมจ่ายเงินให้แก่โครงการพลังงานหมุนเวียนผ่านทางค่าธรรมเนียมพิเศษ

Solar PV Rooftop for Residential และ EERS (Energy Efficiency Resources Standards)

“โซลาร์ประชาชนกับมาตรการเชิงกลยุทธ์ EERS” ด้วยเหตุผลจากการที่ทั่วโลกตระหนักถึงผลกระทบและความรุนแรงจากภาวะโลกร้อน ส่งผลให้กระแสของการใส่ใจทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระแสการอนุรักษ์พลังงาน และการใช้พลังงานสะอาด ทวีความสำคัญขึ้นอย่างมาก และเป็นกระแสที่ส่งผลต่อเนื่องมาถึงประเทศไทย ซึ่งภาครัฐ ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาคขนส่ง ภาคพลังงาน ต่างเร่งปรับตัวให้สอดรับกับกระแสของโลกนี้

ว่าด้วยเรื่องของ “Flexibility Options of Power Systems”

“ความยืดหยุ่นของระบบโครงข่ายไฟฟ้า” การส่งเสริมระบบไฟฟ้าให้มีเสถียรภาพสามารถรองรับการผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์และลมได้มากที่สุดและมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งในปัจจุบันพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์กำลังเปลี่ยนสัดส่วนพลังงานทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ดังนั้นจึงต้องการความยืดหยุ่นของระบบเพื่อที่จะบูรณาการในแบบที่ปลอดภัยและคุ้มค่าต่อราคา รวมทั้งเพื่อมุ่งเน้นการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นสาเหตุของปัญหาโลกร้อน การนำ 2 ประเด็นหลักมาบูรณาการกันจึงถือว่าเป็นการเปลี่ยนจาก “ความท้าทาย” มาเป็น “โอกาส”

การส่งเสริมให้มีการติดตั้งโซลาร์รูฟ กับก้าวต่อไปของประเทศ

แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2561-2580 (เออีดีพี 2018) ภายใต้แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (พีดีพี 2018) มีการส่งเสริมพลังงานทดแทน โดยสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนต่อการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย ในปลายแผน พ.ศ. 2580 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ตามแผนพีดีพี…

“โซลาร์ภาคประชาชน” พลังงานแสงอาทิตย์ 100 เมกะวัตต์ …จากปี 2562 สู่ 10 ปี แห่งอนาคต

จากมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ให้มีโครงการพลังงานแสงอาทิตย์โซลาร์ภาคประชาชน ปีละ 100 เมกะวัตต์ เริ่มปี พ.ศ. 2562 และต่อเนื่องไปเป็นระยะเวลา 10 ปี กรอบแนวคิดดังกล่าว ถูกถ่ายทอดผ่านมายังคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) และส่งผ่านมายังคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน…

การบริหารจัดการพลังงานทดแทนให้มีความเสถียร Firm Renewable Energy กรณีศึกษา Energy Self-Suff icient Village Feldheim

ผู้เขียนขอเล่าประสบการณ์ที่มีโอกาสไปศึกษาดูงาน Energy Self-Sufficient Village Feldheim โดยผู้จัด the Renewables Academy (RENAC) AG ภายใต้โครงการ “Green Energy and Climate…

Resource Recovery Plant – Waste to Energy Solutions ของสาธารณรัฐฟินแลนด์ และราชอาณาจักรสวีเดน

บทความครั้งนี้จะขอพูดถึง กรณีศึกษา Waste to Energy : Resource Recovery Plant ของสาธารณรัฐฟินแลนด์ ซึ่งเป็นประเทศที่มีการนำขยะอุตสาหกรรมไม่เป็นอันตรายกับขยะชุมชนที่ทำการคัดแยกและเผาไหม้ได้เข้าสู่กระบวนการเตรียมและแปรสภาพเป็นเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF…

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save