การบริหารจัดการซากแผงเซลล์แสงอาทิตย์อย่างมีประสิทธิภาพด้วยกระบวนการ LCA

ความต้องการพลังงานสะอาดและการเปลี่ยนจากพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นแหล่งพลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเปลี่ยนผ่านด้านพลังงานยุคใหม่ที่จำกัดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Green House Gas: GHG) การผลิตไฟฟ้าโดยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่มีอัตราการเจริญเติบโตมากที่สุด เนื่องจากต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่ลดต่ำลงถึงจุดคุ้มค่าต่อการลงทุน อีกทั้งไม่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตไฟฟ้าเลย

พัฒนาการด้านมาตรฐานระบบเซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศไทย

ประเทศไทยมีการใช้งานระบบเซลล์แสงอาทิตย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 40 ปี ก่อนปี พ.ศ. 2548 ปริมาณติดตั้งใช้งานสะสมราว 6 เมกะวัตต์ แต่ปัจจุบันตามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP2018) และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) (อ้างอิงข้อมูล สนพ.) กำหนดเป้าหมายปริมาณกำลังผลิตตามสัญญาสะสม…

บทบาทอุตสาหกรรมต่อการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน

จากกระแสความกังวลต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม และการหมดลงไปของทรัพยากรธรรมชาติ รวมไปถึงนับตั้งแต่ ปี ค.ศ.2015 ที่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDG) ได้ถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาของโลก หรือที่เรียกว่า “Global target, National action”…

บริษัท ส.นภาฯ จับมือ จุฬาฯ ส่งต่อองค์ความรู้วัฒนธรรมรักษ์น้ำ ภารกิจรักษ์สิ่งแวดล้อม

“โครงการ Envi mission (ภารกิจรักษ์สิ่งแวดล้อม) ปีที่ 1 ตอนวัฒนธรรมรักษ์น้ำ” เป็นโครงการที่ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เยาวชนไทย ผ่านการพัฒนาบอร์ดเกมส์ภายใต้ “Water Journey” โดยใช้ “นาก” เป็นหมากเดินเกมส์ สร้างแรงบันดาลใจ เพิ่มทักษะการเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์น้ำ…

นวัตกรรมพลังงานกับการสร้างเมืองสีเขียว

ปัจจุบันกระแสของโลกจับจ้องอย่างแข็งขันในเรื่องสิ่งแวดล้อม เริ่มจากการลงนามสนธิสัญญา COP21 (21th Conference of Parties) ในปี ค.ศ. 2015 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งสมาชิกจะร่วมกันลดก๊าซเรือนกระจกลงจากเดิม 20% ในปี ค.ศ.…

ดราม่า เรื่อง PM2.5 ตอน 6 : PM 2.5 กับ AQI

ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2561 ที่มีดราม่าเกี่ยวกับฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 นั้น ได้มีการพูดถึงตัวชี้วัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ อีกตัวหนึ่งคือค่า AQI แล้วค่า AQI คืออะไร และมันทำให้ชัดเจนขึ้นหรือกลับทำให้สับสนมากขึ้น เรามาลองศึกษากัน

“ตุ๊กตุ๊ก” รถเครื่องสามล้อไทย พัฒนาสู่รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าดัดแปลงสำหรับธุรกิจไทย SME ตอนจบ : การทดสอบใช้งานและเก็บข้อมูลการทดสอบใช้งาน

รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าต้นแบบได้ทดสอบใช้งานในการวิ่งจริง โดยมีการเก็บข้อมูลการทดสอบด้วย Power Analyzer PW3390 เพื่อหาระสิทธิภาพของชุดควบคุมมอเตอร์ ตรวจสอบรายละเอียดทั้งหมดและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นพิจารณาต้นทุนรวมทั้งหมด ความคุ้มค่าเชิงพาณิชย์ รวมถึงการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ใช้และผู้ผลิต

แนวโน้มพลังงานแห่งอนาคต (Future Energy Trend)

การผลิตพลังงานยังคงเป็นหนึ่งในสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและความเจริญเติบโตของเมืองใหญ่ และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ที่ผ่านมาเราคงได้สัมผัสรับรู้ถึงการเข้ามาของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและการแทนที่รูปแบบเทคโนโลยีแบบเดิมที่พัฒนาและใช้กันมาเป็นเวลาหลายทศวรรษ ซึ่งการเข้ามาของเทคโนโลยีเหล่านั้นอาจพลิกโฉมรูปแบบพลังงานอย่างสิ้นเชิง (Energy Disruption) และในอนาคตอันใกล้กว่าที่เราคาดคิด การพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานเหล่านั้น ด้านหนึ่งก็เป็นความพยายามในการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การสร้างความมั่นคงเชิงพลังงาน เช่น พลังงานทดแทน การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน ยานยนต์ไฟฟ้า แต่อีกด้านหนึ่งก็ควรคำนึงถึงผลกระทบและการเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงด้วยเช่นกัน

ดราม่า เรื่อง PM2.5 ตอน 5 : ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

ได้อธิบายไว้ก่อนหน้านี้แล้วว่าเรื่องมลพิษอากาศโดยเฉพาะเรื่องฝุ่นจิ๋ว PM2.5 เป็นเรื่องซับซ้อนที่ทำความเข้าใจได้ไม่ง่าย แต่ในความซับซ้อนนั้นเราก็อยากจะแสดงบทบาทนักวิชาการให้ข้อคิดและข้อเสนอแนะดังนี้

เกาะติด Circular Economy ดาว ร่วมขับเคลื่อนโรดแมป เปลี่ยนขยะพลาสติกเป็นทรัพยากร

ขยะพลาสติกในท้องทะเลหรือมหาสมุทรกำลังเป็นปัญหาระดับโลกเพราะได้ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ในท้องทะเลที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากขึ้นด้วยการกลืนกินพลาสติกเข้าไปและในที่สุดได้ย้อนกลับมากระทบต่อแหล่งอาหารที่สำคัญอีกแหล่งหนึ่งต่อการดำรงชีวิตของคนเรา แต่ที่น่าเศร้าไปกว่านั้นคือขยะพลาสติกที่ไหลลงสู่ท้องทะเลหรือมหาสมุทรทั่วโลกมีปริมาณกว่า 8-13 ล้านตันต่อปี ขณะที่ไทยซึ่งสร้างขยะรวม 27 ล้านตัน ในจำนวนนี้เป็นขยะพลาสติกกว่า 2 ล้านตัน และจำนวน 0.41 ล้านตันไหลลงสู่ทะเล ทำให้ไทยติดประเทศอันดับ 7 ของโลกที่มีขยะพลาสติกในทะเลมากที่สุด

“ตุ๊กตุ๊ก” รถเครื่องสามล้อไทย พัฒนาสู่รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าดัดแปลงสำหรับธุรกิจ SME ไทย ตอน : เส้นทางกว่า…จะมาเป็นรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า

บทความก่อนหน้า : “ตุ๊กตุ๊ก” รถเครื่องสามล้อไทย พัฒนาสู่รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าดัดแปลงสำหรับธุรกิจไทย SME การทำรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าต้นแบบของสมาคมฯ มีรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินงานตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ ดังต่อไปนี้

การประเมินวัฏจักรชีวิต : เครื่องมือเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน ที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรม

ช่วงนี้เราอาจได้ยินการพูดถึงกันมากเกี่ยวกับเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ซึ่งกำลังเป็นที่กระแสที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง โดยเชื่อกันว่าเป็นแนวทางที่อุตสาหกรรมควรนำมาใช้เพื่อมาทดแทนระบบเศรษฐกิจเก่า ซึ่งมักเป็นแบบเส้นตรง (Linear Economy) เป็นระบบการผลิตที่มุ่งเน้นการสร้างผลประกอบการทางธุรกิจโดยการนำทรัพยากรมาใช้เพื่อผลิตสินค้าไปสู่ผู้ใช้งานและเมื่อสินค้าหมดอายุก็จะถูกนำไปกำจัด หรือที่เรียกว่า “Take-Make-Dispose” ส่วนใหญ่มักจบลงที่การนำไปฝังกลบ แต่เศรษฐกิจหมุนเวียนเป็นกลยุทธ์ที่เกิดจากแรงบันดาลใจว่าเราจะสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ สังคม หรือทางธุรกิจอย่างไร ในขณะที่สามารถลดการใช้ทรัพยากรและผลกระทบสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปด้วยซึ่งแนวทางอาจไม่จำกัดเฉพาะเรื่องของการลด…

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save