การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและผลกระทบจากการกระทำของมนุษย์ที่รบกวนธรรมชาติ ทำให้เกิดความเสื่อมโทรมแก่ทรัพยากรทางทะเลรวมถึงความอุดมสมบูรณ์ของปะการัง ซึ่งการฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและปะการังนั้นเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน จำเป็นต้องมีองค์ความรู้ทางวิชาการอย่างลึกซึ้งและการบริหารจัดการ อย่างถูกต้องเหมาะสม จึงเกิดเป็นความร่วมมือจากองค์กรพันธมิตรที่มีเจตนารมณ์ เพื่อฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของไทยให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ดังเดิม
Tag: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ นำร่องตรวจภูมิคุ้มกันก่อนเปิดเมือง พร้อมผลักดัน “ปัตตานีโมเดล” เป็นต้นแบบป้องกัน COVID-19 ระลอกใหม่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผนึกกำลังพันธมิตรปูพรมตรวจภูมิคุ้มกันก่อนคลายล็อค ให้ชาวปัตตานีนับหมื่น ด้วยชุดตรวจว่องไว ยก “ปัตตานีโมเดล” ต้นแบบจัดการชุมชนควบคุม COVID-19 หนุนรัฐทำ Big Data รับมือในระยะยาว ทั้งนี้เพื่อเป็นการรับมือในระยะยาวทางระดับชุมชน และนำมาใช้วางแนวทางสร้างนวัตกรรมเชิงป้องกันให้คนไทยตรวจทั้งประเทศเพื่อให้ทราบสภาวะการติดเชื้อ COVID-19 รองรับการระบาดระลอกต่อไปที่อาจเกิดขึ้นได้ทัน…
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมแบตเตอรี่ล้ำสมัย ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศ ลดพึ่งพาจากต่างประเทศ
แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็น ทางด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์ไฟฟ้า ไปจนถึงระบบผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ ล้วนต้องการเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูง และมีอายุ การใช้งานอย่างยาวนาน แบตเตอรี่เป็นเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานประเภทหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลก ซึ่งในปัจจุบันส่วนใหญ่จะเป็น เทคโนโลยีที่อยู่บนฐานของวัสดุประเภทลิเธียม ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่มีอยู่จำกัดและต้องนำเข้าจากต่างประเทศ และเพื่อลดการนำเข้าจากต่างประเทศ จึงนำมาซึ่งการลงนามความร่วมมือโครงการจัดตั้งและดำเนินการ “ศูนย์ความเป็นเลิศ…
จุฬาฯ คิดค้นสเปรย์เพิ่มประสิทธิภาพหน้ากากผ้าป้องกันโควิด-19
ทีมวิจัยจุฬาฯ คิดค้นสเปรย์ใช้สำหรับพ่นหน้ากากผ้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันไวรัส กันน้ำ กรองเชื้อโรค นับเป็นนวัตกรรมใหม่เพื่อเป็นทางเลือกในการใช้หน้ากากผ้าแก่บุคคลทั่วไป ในช่วงที่หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ขาดแคลนในช่วงโควิด-19 ระบาด
จุฬาฯ ลุยสู้โควิด ส่งกองทัพหุ่นยนต์เซฟหมอ “CU-RoboCOVID” กว่าร้อยตัว พร้อมช่วยหมอทั่วประเทศแล้ว
7 เม.ย.63 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) ร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เร่งผลิตหุ่นยนต์ “CU-RoboCOVID” 103 ชุด มูลค่ากว่า 5 ล้านบาท นำทีมโดยเจ้า “PINTO”…
วิศวฯ จุฬาฯ ผนึกพลังภาครัฐและเอกชน เดินหน้าโครงการติดตั้งเซนเซอร์ตรวจวัดปริมาณ PM 2.5
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คิดค้นองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อสร้างประโยชน์แก่สังคมไทยอีกครั้งด้วยการต่อยอดการพัฒนาโครงการติดตั้งเซนเซอร์ตรวจวัดปริมาณ PM 2.5 ปีที่ 2 หรือโครงการ Sensore for All ซึ่งได้รับความรว่มมือจาก บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด…
“ฝุ่น PM 2.5 แก้ปัญหาอย่างไรให้ยั่งยืน” เพื่ออากาศสะอาดที่ทุกคนมีสิทธ์ได้รับ
ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่เป็นวาระแห่งชาติ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดเวทีจุฬาฯ เสวนา ครั้งที่ 22 เรื่อง “ฝุ่น…
บริษัท ส.นภาฯ จับมือ จุฬาฯ ส่งต่อองค์ความรู้วัฒนธรรมรักษ์น้ำ ภารกิจรักษ์สิ่งแวดล้อม
“โครงการ Envi mission (ภารกิจรักษ์สิ่งแวดล้อม) ปีที่ 1 ตอนวัฒนธรรมรักษ์น้ำ” เป็นโครงการที่ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เยาวชนไทย ผ่านการพัฒนาบอร์ดเกมส์ภายใต้ “Water Journey” โดยใช้ “นาก” เป็นหมากเดินเกมส์ สร้างแรงบันดาลใจ เพิ่มทักษะการเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์น้ำ…
Final Pitching โครงการ Envi Mission วัฒนธรรมรักษ์น้ำ
ขอเชิญชวนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมและให้กำลังใจน้อง ๆ นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในกิจกรรม โครงการ “Envi Mission วัฒนธรรมรักษ์น้ำ” ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาทั่วประเทศ จาก 163 ทีม ที่จะมีเพียง 10 ทีมสุดท้าย ที่ผ่านการคัดเลือกเข้าสู่การนำเสนอผลงานในรอบชิงชนะเลิศ…
PM 2.5 กับ วิศวฯ จุฬาฯ
ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2561 จนถึงต้นปี พ.ศ. 2562 นับว่าเป็นวิกฤตการณ์ครั้งสำคัญของคนไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตกรุงเทพมหานครและพื้นที่ภาคเหนือที่เผชิญกับปัญหาฝุ่น PM 2.5 มีปริมาณสูงเกินกว่ามาตรฐานเป็นเวลาหลายสัปดาห์ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบหายใจและระบบหมุนเวียนเลือด โดยจากฐานข้อมูลของ Google…