“SYS” ร่วมประกาศเจตนารมณ์กับจุฬาฯ และ TGO ขานรับมาตรการ CBAM ของ EU

บริษัท เหล็กสยามยามาโตะ จำกัด หรือ SYS  เดินหน้ารับมือมาตรการ CBAM ประกาศเจตนารมณ์ชัดเจน ผนึก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก และกลุ่มโรงงานนำร่อง ร่วมผลักดันโครงการ “การเตรียมความพร้อมสินค้าส่งออกสหภาพยุโรปเพื่อรับมือกับมาตรการ CBAM เพื่อเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการไทย…

“จุฬาฯ จับมือ ฮาคูโฮโด (ไทยแลนด์) เปิดคอร์ส HIT PROGRAM มุ่งพัฒนาทักษะนักการตลาดยุคใหม่ให้นิสิต

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ บริษัท ฮาคูโฮโด อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) จำกัด ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงในการเป็นพันธมิตรพัฒนาหลักสูตร “HIT PROGRAM” สำหรับนิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้นปีที่ 4 ประจำปีการศึกษา…

ปตท.สผ. ผนึกความร่วมมือกับภาคการศึกษา พัฒนางานวิจัยและสร้างบุคลากร ด้านสำรวจและผลิตปิโตรเลียม ต่อยอดสู่การพัฒนา CCS ในไทย

กรุงเทพฯ, 26 ตุลาคม 2566 – ปตท.สผ. ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยชั้นนำต่าง ๆ ของไทย โดยล่าสุดคือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พัฒนางานวิจัยทางวิชาการ ทั้งด้านธรณีศาสตร์ วิศวกรรมปิโตรเลียม และสร้างบุคลากรด้านการสำรวจและผลิตปิโตรเลียม เพื่อเป็นกำลังหลักในการแสวงหาแหล่งพลังงาน สร้างความมั่นคงทางพลังงานให้กับประเทศ โดยสามารถต่อยอดองค์ความรู้สำหรับการพัฒนาเทคโนโลยี CCS เพื่อช่วยขับเคลื่อนประเทศไทยสู่เป้าหมายสังคมคาร์บอนต่ำ

ซันโกรว์ มอบอินเวอร์เตอร์ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วยบ่มเพาะบุคลากรด้านพลังงานหมุนเวียนในประเทศไทย

เมื่อเร็วๆ นี้ ซันโกรว์ (Sungrow) ซัพพลายเออร์อินเวอร์เตอร์และระบบกักเก็บพลังงานชั้นนำระดับโลก มอบผลิตภัณฑ์อินเวอร์เตอร์ให้แก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในระหว่างที่ประเทศไทยกำลังจัดมหกรรมพลังงานระดับภูมิภาค “ASEAN Sustainable Energy Week Thailand 2023” ทั้งนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย และได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ทรงเกียรติของประเทศ…

จุฬา ร่วมมือ UNEP จัดงาน Beat PlasticPollution in Thailand แก้ปัญหาขยะพลาสติก

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme: UNEP) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และเสนอแนวทางขับเคลื่อนนโยบายด้านการลดขยะพลาสติก

คณะวิศวะจุฬาฯ ระดมสมองผนึกกำลัง ลดก๊าซเรือนกระจกในคณะ ตามเป้าหมายจุฬาฯ Net-Zero Emissions ในปี 2050

เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2566 ณ ห้องประชุม ชั้น 2 อาคารเจริญวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับมูลนิธิ อรุณ สรเทศน์ จัดกิจกรรมอบรมให้กับบุคลากรของคณะฯ และผู้สนใจในเรื่อง…

กฟผ. – พันธมิตร เร่งติดตั้ง Sensor ตรวจวัด PM 2.5 เพิ่มทั่วประเทศ ภายใต้โครงการพัฒนาแอปพลิเคชัน Sensor for All

กฟผ. ร่วมกับ สพจ. และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดินหน้าเร่งติดตั้ง Sensor ตรวจวัดค่าฝุ่น PM 2.5 ให้ครบทั้ง 76 จังหวัดทั่วประเทศภายในเดือนตุลาคมนี้ พร้อมขยายผลข้อมูลผลการตรวจวัดสู่แอปพลิเคชัน Sensor for…

กฟผ. จับมือ จุฬาฯ ร่วมสร้างคุณภาพอากาศที่ดีให้กับคนไทย เตรียมติดตั้ง Sensor วัด PM2.5 จำนวน 55 จุด ในพื้นที่สำนักงานและชุมชนโดยรอบ กฟผ. ในเดือน เม.ย.นี้

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จับมือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 เพื่อสร้างอากาศบริสุทธิ์ให้กับคนไทย ผ่านโครงการ Sensor for All เตรียมติดตั้งเซนเซอร์ตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่สำนักงานของ กฟผ. และชุมชนโดยรอบ จำนวน 55…

วิศวะ จุฬาฯ จับมือ ภาครัฐและเอกชน ผนึกพลังสู้ฝุ่น PM 2.5 พัฒนา Sensor for All เร่งผุดระบบเซ็นเซอร์ 500 จุด วัดฝุ่นทั่วไทย

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดินหน้าพัฒนาโครงการ Sensor for All ปีที่ 3 ภายใต้ความร่วมมือกับ GISTDA พร้อมด้วยองค์กรชั้นนำของไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การเคหะแห่งชาติ ไมโครซอฟท์ ทรู…

เอสซีจี – ทช. – จุฬาฯ ร่วมพัฒนานวัตกรรมวัสดุฐานลงเกาะตัวอ่อนปะการัง ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งไทยอย่างยั่งยืน

การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและผลกระทบจากการกระทำของมนุษย์ที่รบกวนธรรมชาติ ทำให้เกิดความเสื่อมโทรมแก่ทรัพยากรทางทะเลรวมถึงความอุดมสมบูรณ์ของปะการัง ซึ่งการฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและปะการังนั้นเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน จำเป็นต้องมีองค์ความรู้ทางวิชาการอย่างลึกซึ้งและการบริหารจัดการ อย่างถูกต้องเหมาะสม จึงเกิดเป็นความร่วมมือจากองค์กรพันธมิตรที่มีเจตนารมณ์ เพื่อฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของไทยให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ดังเดิม

จุฬาฯ นำร่องตรวจภูมิคุ้มกันก่อนเปิดเมือง พร้อมผลักดัน “ปัตตานีโมเดล” เป็นต้นแบบป้องกัน COVID-19 ระลอกใหม่

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผนึกกำลังพันธมิตรปูพรมตรวจภูมิคุ้มกันก่อนคลายล็อค ให้ชาวปัตตานีนับหมื่น ด้วยชุดตรวจว่องไว ยก “ปัตตานีโมเดล” ต้นแบบจัดการชุมชนควบคุม COVID-19 หนุนรัฐทำ Big Data รับมือในระยะยาว ทั้งนี้เพื่อเป็นการรับมือในระยะยาวทางระดับชุมชน และนำมาใช้วางแนวทางสร้างนวัตกรรมเชิงป้องกันให้คนไทยตรวจทั้งประเทศเพื่อให้ทราบสภาวะการติดเชื้อ COVID-19 รองรับการระบาดระลอกต่อไปที่อาจเกิดขึ้นได้ทัน…

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมแบตเตอรี่ล้ำสมัย ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศ ลดพึ่งพาจากต่างประเทศ

แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็น ทางด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์ไฟฟ้า ไปจนถึงระบบผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ ล้วนต้องการเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูง และมีอายุ การใช้งานอย่างยาวนาน แบตเตอรี่เป็นเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานประเภทหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลก ซึ่งในปัจจุบันส่วนใหญ่จะเป็น เทคโนโลยีที่อยู่บนฐานของวัสดุประเภทลิเธียม ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่มีอยู่จำกัดและต้องนำเข้าจากต่างประเทศ และเพื่อลดการนำเข้าจากต่างประเทศ จึงนำมาซึ่งการลงนามความร่วมมือโครงการจัดตั้งและดำเนินการ “ศูนย์ความเป็นเลิศ…

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save